Chat with us, powered by LiveChat

ประมวลกฎหมายอาญา

ประมวลกฎหมายอาญา

ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป

ลักษณะ 1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป
หมวด 1 บทนิยาม
 
             มาตรา 1 บทนิยาม
 
หมวด 2 การใช้กฎหมายอาญา
             มาตรา 4 กระทำผิดในราชอาณาจักร
             มาตรา 5 ให้ถือว่ากระทำผิดในราชอาณาจักร
             มาตรา 6 ตัวการ ผู้สนับสนุนหรือผู้ใช้นอกราชอาณาจักร
             มาตรา 7 กระทำผิดนอกราชอาณาจักร
             มาตรา 8 กระทำผิดนอกราชอาณาจักร
             มาตรา 9 เจ้าพนักงานกระทำผิดต่อตำแหน่งนอกราชอาณาจักร
             มาตรา 10 การคำนึงถึงคำพิพากษาของศาลต่างประเทศ
             มาตรา 11 การคำนึ่งถึงคำพิพากษาของศาลต่างประเทศ
 
หมวด 3 โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
 
ส่วนที่ 1 โทษ
             มาตรา 32 ทรัพย์ที่ต้องริบ
            มาตรา 33 ทรัพย์สินที่ศาลมีอำนาจริบ
            มาตรา 34 การริบทรัพย์ที่ได้ให้
            มาตรา 36 การขอคืนทรัพย์ที่ศาลสั่งริบ
            มาตรา 38 ผู้กระทำผิดตายโทษระงับ
 
หมวด 4 ความรับผิดในทางอาญาต
            มาตรา 59 ความรับผิดในทางอาญา
            มาตรา 60 กระทำโดยพลาด
            มาตรา 61 สำคัญผิดในตัวบุคคล
            มาตรา 62 สำคัญผิดในข้อเท็จจริง
            มาตรา ุ63 ผลธรรมดา
            มาตรา 64 การไม่รู้กฎหมาย
            มาตรา 65 คนวิกลจริต
            มาตรา 66 ความมึนเมา
            มาตรา 67 จำเป็น
            มาตรา 68 ป้องกัน
            มาตรา 69 จำเป็นและป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ
            มาตรา 70 กระทำตามคำสั่งเจ้าพนักงาน
            มาตรา 71 กระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ต่อญาติ
            มาตรา 72 บันดาลโทสะ
 
หมวด 5 การพยายามกระทำความผิด
            มาตรา 80 พยายาม
            มาตรา 81 พยายามที่เป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้
            มาตรา 82 ยับยั้งหรือกลับใจ

หมวด 6 ตัวการและผู้สนับสนุน
            มาตรา 83 ตัวการ
            มาตรา 84 ผู้ใช้
            มาตรา 85 โฆษณาหรือประกาศให้บุคคลทั่วไปกระทำผิด
            มาตรา 8ุุุ6 ผู้สนับสนุน
            มาตรา 87 กรณีผู้กระทำเกินขอบเขตที่ใช้ โฆษณาหรือสนับสนุน
            มาตรา 88 การขัดขวางของผู้ใช้หรือผู้สนับสนุน
            มาตรา 89 เหตุส่วนตัว เหตุลักษณะคดี
 
ลักษณะ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
 
หมวด 1  ความผิดต่อเจ้าพนักงาน
             มาตรา 136 ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน
             มาตรา 137 แจ้งความเท็จต่อเจ้าพนักงาน
             มาตรา 138 ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน
             มาตรา 139 ข่มขืนใจเจ้าพนักงาน
             มาตรา 140 เหตุต้องรับโทษหนักขึ้น
             มาตรา 141 ทำลายตราหรือเครื่องหมายอันเจ้าพนักงานได้หมายไว้ เพื่อเป็นหลักฐานในการยึด
             มาตรา 142 ทำลายทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานยึดไว้ เพื่อเป็นพยานหลักฐาน
             มาตรา 143 คนกลางเรียกสินบน
             มาตรา 144 ให้สินบนเจ้าพนักงาน
             มาตรา 145 แสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน
             มาตรา 146 สวมเครื่องแบบหรือใช้ยศตำแหน่งของเจ้าพนักงานโดยไม่มีสิทธิ
 
หมวด 2  ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
             มาตรา 147 เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์
             มาตรา 148 เจ้าพนักงานกรรโชกทรัพย์
             มาตรา 149 เจ้าพนักงานเรียกสินบน
             มาตรา 150 เจ้าพนักงานกระทำหรือไม่กระทำในตำแหน่งหน้าที่เพราะเห็นแก่ประโยชน์ที่รับไว้ก่อนได้รับตำแหน่ง
             มาตรา 151 เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่โดยทุจริต
             มาตรา 152 เจ้าพนักงานเข้าไปมีส่วนได้เสีย
             มาตรา 157 เจ้าพนักงานปฎิบัติหรือละเว้นหน้าที่
             มาตรา 158 เจ้าพนักงานทำลายทรัพย์ที่ตนมีหน้าที่รักษา
             มาตรา 159 เจ้าพนักงานทำลายตรา หรือเครื่องหมายที่ตนประทับ
             มาตรา 160 เจ้าพนักงานใช้ตราหรือรอยตราโดยมิชอบ
             มาตรา 161 เจ้าพนักงานปลอมเอกสาร
             มาตรา 162 เจ้าพนักงานทำเอกสารเท็จ
             มาตรา 164 เจ้าพนักงานทำให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับในทางราชการ
             มาตรา 165 เจ้าพนักงานป้องกันหรือขัดขวางมิให้การเป็น
 
ลักษณะ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
 
หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
            มาตรา 167 ให้สินบนเจ้าพนักงานยุติธรรม
            มาตรา 168 ขัดขืนคำบังคับซึ่งในมาเพื่อให้ถ้อยคำ
            มาตรา 169 ขัดขืนคำบังคับซึ่งให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารใด
            มาตรา 170 ขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาลให้มาเบิกความในการพิจารณาคดี
            มาตรา 171 ขัดขืนคำสั่งของศาลให้มาเบิกความ
            มาตรา 172 แจ้งความเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญา
            มาตรา 173 รู้ว่ามิได้กระทำผิด แต่แจ้งว่าได้มีการกระทำผิด
            มาตรา 174 แจ้งความเท็จตามมาตรา 172 หรือ 173 เพื่อแกล้งให้รับโทษ
            มาตรา 175 ฟ้องเท็จว่ากระทำผิดอาญา
            มาตรา 176 ฟ้องเท็จแล้วลุแก่โทษ
            มาตรา 177 เบิกความเท็จ
            มาตรา 178 แปลข้อความให้ผิดในข้อสำคัญ
            มาตรา 179 ทำพยานหลักฐานเท็จ
            มาตรา 180 นำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานเท็จ
            มาตรา 181 เหตุที่ต้องรับโทษหนักขึ้นตาม มาตรา 174 175 177 178 หรือ 180
            มาตรา 182 เหตุยกเว้นโทษผู้กระทำผิดตามมาตรา 177 หรือ 178
            มาตรา 183 เหตุลดโทษกรณีความผิดตาม มาตรา 177 178 หรือ 180
            มาตรา 184 ทำลายพยานหลักฐานเพื่อช่วยผู้อื่นมิให้ต้องรับโทษ
            มาตรา 185 ทำลายทรัพย์หรือเอกสารที่ส่งไว้ต่อศาล
            มาตรา 186 ทำลายทรัพย์สินที่ได้มีคำพิพากษาให้ริบ
            มาตรา 187 ทำลายทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัดเพื่อมิให้เป็นไปตามคำพิพากษา
            มาตรา 188 ทำลายพินัยกรรมหรือเอกสารของผู้อื่น
            มาตรา 189 ช่วยผู้กระทำผิดเพื่อมิให้ถูกจับกุม
            มาตรา 190 หลบหนีระหว่างการคุมขัง
            มาตรา 191 ทำให้ผู้ถูกคุมขังหลุดพ้นจากการคุมขัง
            มาตรา 192 ช่วยผู้ที่หลบหนีจากการคุมขัง
            มาตรา 193 การกระทำความผิดตามมาตรา 184 189 หรือ 192 เป็นการช่วยญาติ
            มาตรา 198 ดูหมิ่นหรือขัดขวางศาล
            มาตรา 199 ลอบฝัง ซ่อนเร้น ย้าย ทำลายศพ   

หมวด 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม  
            มาตรา 200 เจ้าพนักงานในตำแหน่งยุติธรรมช่วยหรือแกล้งผู้อื่น
            มาตรา 201 เจ้าพนักงานในตำแหน่งยุติธรรมเรียกสินบน
            มาตรา 202 เจ้าพนักงานยุติธรรมกระทำหรือไม่กระทำการเพราะเห็นแก่ประโยชน์ที่รับไว้ก่อนรับตำแหน่ง
            มาตรา 203 เจ้าพนักงานป้องกันหรือขัดขวางมิให้เป็นไปตามคำพิพากษา
            มาตรา 204 เจ้าพนักงานทำให้ผู้ถูกคุมขังหลุดพ้นจากการคุมขังโดยประมาท
            มาตรา 205 เจ้าพนักงานทำให้ผู้ถูกคุมขังหลุดพ้นจากการคุมขังโดยประมาทโดยประมาท 
 
ลักษณะ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา
 
            มาตรา 206 เหยียดหยามศาสนา
            มาตรา 207 ก่อให้เกิดความวุ่นวายในที่ประชุมศาสนิกชน
            มาตรา 208 แต่งกายเป็นนักบวชโดยมิชอบ
 
ลักษณะ 5 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน
 
            มาตรา 209 เป็นอั้งยี่
            มาตรา 210 เป็นซ่องโจร
            มาตรา 211 ประชุมในที่ประชุมอั้งยี่หรือซ่องโจร
            มาตรา 212 อุปการะอั้งยี่ ซ่องโจร
            มาตรา 213 สมาชิกอังยี่หรือซ่องโจรได้กระทำผิดตามความมุ่งหมาย
            มาตรา 214 ประพฤติเป็นปกติธุระจัดหาที่พำนัก ซ่อนเร้นให้ผู้กระทำความผิด
            มาตรา 215 มั่วสุม
            มาตรา 216 ไม่เลิกมั่วสุม
 
ลักษณะ 6 ความผิดเกี่ยวกับการก่อภยันตรายต่อประชาชน
 
            มาตรา 217 วางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อื่น
            มาตรา 218 เหตุฉกรรจ์วางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อื่น
            มาตรา 219 ตระเตรียมวางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อืน
            มาตรา 220 ทำให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถุใดๆ แม้เป็นของตนเอง
            มาตรา 221 ทำให้เกิดระเบิด
            มาตรา 222 ทำให้เกิดระเบิดจนเป็นเหตุอันตรายแก่ทรัพย์ตามมาตรา 217 หรือ 218
            มาตรา 223 ทำให้เกิดระเบิดจนเป็นเหตุอันตรายแก่ทรัพย์ที่มีราคาเล็กน้อย
            มาตรา 224 ผลที่ทำให้ต้องรับโทษหนักขึ้นจากความผิดตามมาตรา 217 218 221 หรือ 222
            มาตรา 225 ทำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท
            มาตรา 227 ผู้มีวิชาชีพไม่ปฎิบัติตามหลักเกณฑ์อันพึงกระทำการ
            มาตรา 228 กระทำด้วยประการใดเพื่อให้เกิดอุทกภัย
            มาตรา 232 ทำให้ยานพาหนะอยู่ในลักษณะน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคล
            มาตรา 233 ใช้ยานพาหนะอยู่ในลักษณะน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลในยานพาหนะ
            มาตรา 234 ทำแก่สิ่งที่ใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้า น้ำ
            มาตรา 235 ทำให้การสื่อสารขัดข้อง
            มาตรา 236 ปลอมปน อาหาร ยา
            มาตรา 237 เอาของมีพิษเจือลงในอาหาร น้ำ
            มาตรา 238 ผลที่ทำให้ต้องรับโทษหนักขึ้นจากความผิดตามมาตรา 226 ถึง 237
            มาตรา 239 การกระทำในมาตรา 226 ถึง 237 เป็นการกระทำโดยประมาท
 
หมวด 3 ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
            มาตรา 264 ปลอมเอกสาร
            มาตรา 265 ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ
            มาตรา 266 ปลอมเอกสารพิเศษ
            มาตรา 267 แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความเท็จ
            มาตรา 268 ใช้หรืออ้างเอกสารปลอม
 
หมวด 4 ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์
            มาตรา 269/1 ปลอมบัตรอิเลคทรอนิกส์
            มาตรา 269/2 ทำหรือมีเครื่องมือสำหรับปลอมหรือแปลง
            มาตรา 269/3 นำเข้าหรือส่งออกบัตรอิเลคทรอนิกส์ปลอม
            มาตรา 269/4 ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ซึ่งบัตรอิเลคทรอนิกส์ปลอมหรือแปลง
            มาตรา 269/5 ใช้บัตรอิเลคทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
            มาตรา 269/6 มีไว้เพื่อใช้ซึ่งบัตรอิเลคทรอนิกส์ของผู้อื่น
            มาตรา 269/7 เหตุฉกรรจ์หมวด 4 ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเลคทรอนิกส์
 
หมวด 5 ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
            มาตรา 269/8 ปลอมหนังสือเดินทาง
            มาตรา 269/9 ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้หนังสือเดินทางปลอม
            มาตรา 269/10 นำเข้าหรือส่งออกหนังสือเดินทางปลอม
            มาตรา 269/11 ใช้หนังสือเดินทางของผู้อื่นโดยมิชอบ
            มาตรา 269/12 ปลอมตราซึ่งใช้สำหรับเดินทาง
            มาตรา 269/13 ปลอมตราสำหรับหนังสือเดินทางปลอม      
            มาตรา 269/14 นำเข้าหรือส่งออกตราสำหรับการเดินทางปลอม
            มาตรา 269/15 ใช้ตราสำหรับเดินทางโดยมิชอบ
 
ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ
        มาตรา 276 ข่มขืนกระทำชำเรา
            มาตรา 277 กระทำชำเราเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี
            มาตรา 277 ทวิ ผลที่ผู้กระทำผิดตาม มาตรา 276 วรรค 1 หรือมาตรา 277 วรรค 1 หรือวรรค 3 หนักขึ้น
            มาตรา 277 ตรี ผลที่ทำให้กระทำผิดตาม มาตรา 276 วรรค 3 หรือ มาตรา 277 วรรค 4 ต้องโทษหนักขึ้น
            มาตรา 278 ทำอนาจารแก่บุคคลอายุกว่า 15 ปี
            มาตรา 279 ทำอนาจารแก่บุคคลอายุไม่เกิน 15 ปี
            มาตรา 280 ผลที่ทำให้ผู้กระทำผิดตาม มาตรา 278 หรือ 279 ต้องโทษหนักขึ้น
            มาตรา 281 การยอมความในความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรกและมาตรา 278
            มาตรา 282 นำไปเพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น โดยยินยอม
            มาตรา 283 นำไปเพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น โดยไม่ยินยอม
            มาตรา 283 ทวิ พาบุคคลอายุเกิน 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปี ไปเพื่ออนาจาร โดยผู้นั้นยินยอม
            มาตรา 284 พาผู้อื่นไปเพื่ออนาจารโดยไม่ยินยอม 
            มาตรา 285 เหตุที่ทำให้ต้องได้รับโทษหนักขึ้น
            มาตรา 286 ดำรงชีพอยู่จากรายได้ของผู้ซึ่งค้าประเวณี
            มาตรา 287 เผยแพร่สิ่งของลามก

ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
หมวด 1 ความผิดต่อชีวิต
       
 
 
            
            
 
               
 

             
 
Visitors: 290,996